กฎระเบียบการส่งออก ประเทศสหรัฐอเมริกา
1. กฎเพื่อป้องกันการก่อการร้ายทางชีวภาพ
2. มาตรการการติดฉลากไขมันไม่อิ่มตัว (Trans Fat)
ต้องระบุไขมันไม่อิ่มตัวในฉลากโภชนาการเพิ่มเติมจากเดิมกำหนดไว้เฉพาะไขมันอิ่มตัว เนื่องจากมีหลักฐานทางวิทยาศาสตร์ระบุว่า การบริโภคไขมันไม่อิ่มตัวมีผลทำให้ระดับคลอเรสเตอรอลสูงที่เป็นโทษต่อสุขภาพเพิ่มสูงขึ้น เช่นเดียวกับไขมันอิ่มตัว ซึ่งเป็นการเพิ่มความเสี่ยงของโรคหลอดเลือดหัวใจตีบ ไขมันไม่อิ่มตัวจะพบบ่อยในอาหารสำเร็จรูป โดยเฉพาะอย่างยิ่ง มาการีนแข็ง แครกเกอร์ ลูกกวาด อาหารคบเคี้ยว อาหารทอดและอาหารอบ
3. มาตรการการติดฉลากอาหารก่อให้เกิดภูมิแพ้ Food Allergen labeling and Consumer Protection Act 2004)
ประเภทสินค้าที่ต้องติดฉลาก COOL
1. สินค้าประมง เช่น ปลา และสัตว์น้ำที่มีเปลือกแข็ง เช่น หอย กุ้ง ฯลฯ ทั้งที่มาจากการจับ จากแหล่งน้ำตามธรรมชาติ หรือจากฟาร์มเพาะเลี้ยง
2. เนื้อสัตว์ เช่น เนื้อวัว เนื้อแกะ เนื้อหมู ฯลฯ
3. สินค้าเกษตรที่เน่าเสียง่าย เช่น ผักและผลไม้สดแช่เย็นแช่แข็ง ฯลฯ
4. ถั่วต่างๆ
ข้อยกเว้น
1. ทั้งนี้สินค้าทั้ง 4 ประเภทจะได้รับการยกเว้นไม่ต้องติดฉลาก COOL หากถูกใช้เป็นวัตถุดิบในการประกอบอาหารพร้อมปรุงสุก หรือผ่านกระบวนการแปรรูป ซึ่งทำให้มีลักษณะทางกายภาพหรือทางเคมีเปลี่ยนไปจากเดิม เช่น เบคอน แฮม น้ำส้มคั้น เนยถั่ว กุ้งชุบเกร็ดขนมปังและผักสลัดรวม
2. การขายสินค้าให้กับธุรกิจบางประเภทที่ไม่ใช่ธุรกิจค้าปลีก เช่น ธุรกิจอาหารแปรรูป ภัตตาคาร โรงแรมและโรงพยาบาล จะได้รับการบกเว้นไม่ให้ติดฉลาก COOL เนื่องจากธุรกิจเหล่านี้ต้องนำสินค้าไปปรุงอาหารหรือผ่านกระบวนการแปรรูปอื่นๆ ต่อไป
5. มาตรการอื่นๆ
5.1 มาตรการ AD/CVD สหรัฐฯ ใช้มาตรการ AD กับสินค้ากุ้งน้ำอุ่นแช่เย็นแช่แข็งหรือแช่แข็ง และกุ้งแปรรูปในอัตรา 5.29- 6.825.2 สิ่งที่ต้องปฏิบัติอื่นๆ คือ
ห้ามใช้ Chloramphenicol ผสมอาการเลี้ยงสัตว์ อนุญาตให้เจือปนได้ไม่เกิน 0.3 ppb
มีไนโตรฟูแรนได้ไม่เกิน 1 ppb
ต้องไม่พบเชื้อ Salmonella และ Filth
ถ้าเป็นกุ้งทะเลต้องจับโดยเครื่องมือ TEDs
หากเป็นปลาทูน่ากระป๋องต้องมีเอกสาร The National Marine Fisheries Certificate of Origin (NOAA Form 370)
http://www.thai-frozen.or.th/th/facts_fig/r_usa.asp
2. มาตรการการติดฉลากไขมันไม่อิ่มตัว (Trans Fat)
ต้องระบุไขมันไม่อิ่มตัวในฉลากโภชนาการเพิ่มเติมจากเดิมกำหนดไว้เฉพาะไขมันอิ่มตัว เนื่องจากมีหลักฐานทางวิทยาศาสตร์ระบุว่า การบริโภคไขมันไม่อิ่มตัวมีผลทำให้ระดับคลอเรสเตอรอลสูงที่เป็นโทษต่อสุขภาพเพิ่มสูงขึ้น เช่นเดียวกับไขมันอิ่มตัว ซึ่งเป็นการเพิ่มความเสี่ยงของโรคหลอดเลือดหัวใจตีบ ไขมันไม่อิ่มตัวจะพบบ่อยในอาหารสำเร็จรูป โดยเฉพาะอย่างยิ่ง มาการีนแข็ง แครกเกอร์ ลูกกวาด อาหารคบเคี้ยว อาหารทอดและอาหารอบ
3. มาตรการการติดฉลากอาหารก่อให้เกิดภูมิแพ้ Food Allergen labeling and Consumer Protection Act 2004)
ประเภทสินค้าที่ต้องติดฉลาก COOL
1. สินค้าประมง เช่น ปลา และสัตว์น้ำที่มีเปลือกแข็ง เช่น หอย กุ้ง ฯลฯ ทั้งที่มาจากการจับ จากแหล่งน้ำตามธรรมชาติ หรือจากฟาร์มเพาะเลี้ยง
2. เนื้อสัตว์ เช่น เนื้อวัว เนื้อแกะ เนื้อหมู ฯลฯ
3. สินค้าเกษตรที่เน่าเสียง่าย เช่น ผักและผลไม้สดแช่เย็นแช่แข็ง ฯลฯ
4. ถั่วต่างๆ
ข้อยกเว้น
1. ทั้งนี้สินค้าทั้ง 4 ประเภทจะได้รับการยกเว้นไม่ต้องติดฉลาก COOL หากถูกใช้เป็นวัตถุดิบในการประกอบอาหารพร้อมปรุงสุก หรือผ่านกระบวนการแปรรูป ซึ่งทำให้มีลักษณะทางกายภาพหรือทางเคมีเปลี่ยนไปจากเดิม เช่น เบคอน แฮม น้ำส้มคั้น เนยถั่ว กุ้งชุบเกร็ดขนมปังและผักสลัดรวม
2. การขายสินค้าให้กับธุรกิจบางประเภทที่ไม่ใช่ธุรกิจค้าปลีก เช่น ธุรกิจอาหารแปรรูป ภัตตาคาร โรงแรมและโรงพยาบาล จะได้รับการบกเว้นไม่ให้ติดฉลาก COOL เนื่องจากธุรกิจเหล่านี้ต้องนำสินค้าไปปรุงอาหารหรือผ่านกระบวนการแปรรูปอื่นๆ ต่อไป
5. มาตรการอื่นๆ
5.1 มาตรการ AD/CVD สหรัฐฯ ใช้มาตรการ AD กับสินค้ากุ้งน้ำอุ่นแช่เย็นแช่แข็งหรือแช่แข็ง และกุ้งแปรรูปในอัตรา 5.29- 6.825.2 สิ่งที่ต้องปฏิบัติอื่นๆ คือ
ห้ามใช้ Chloramphenicol ผสมอาการเลี้ยงสัตว์ อนุญาตให้เจือปนได้ไม่เกิน 0.3 ppb
มีไนโตรฟูแรนได้ไม่เกิน 1 ppb
ต้องไม่พบเชื้อ Salmonella และ Filth
ถ้าเป็นกุ้งทะเลต้องจับโดยเครื่องมือ TEDs
หากเป็นปลาทูน่ากระป๋องต้องมีเอกสาร The National Marine Fisheries Certificate of Origin (NOAA Form 370)
http://www.thai-frozen.or.th/th/facts_fig/r_usa.asp
No comments:
Post a Comment